ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง (Mental Discipline)
(ทิศนา แขมมณี ผู้รวบรวม) (Bigge, 1964: 19-30) กล่าวไว้ว่า จิตหรือสมองหรือปัญญา สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก เช่นเดียวกับกล้ามเนื้อซึ่งจะแข็งแรงได้ด้วยการฝึกออกกำลังกาย ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
Dr.Surin ( http://surinx.blogspot.com/ ) กล่าวไว้ว่า
1.มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่วและการกระทำใด ๆ ของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (bad-active)
2.มนุษย์พร้อที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3.สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ (faculties) ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
4.การฝึกสมองหรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5.การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่นวิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติน ภาษากรีกและคัมภีร์ใบเบิล เป็นต้น
2.มนุษย์พร้อที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3.สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ (faculties) ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
4.การฝึกสมองหรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5.การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่นวิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติน ภาษากรีกและคัมภีร์ใบเบิล เป็นต้น
ณัชชากัญญ์ (http://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486 ) กล่าวไว้ว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา (mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
(http://www.niteslink.net/web/) ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง (Mental Discipline)
นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส(Socratic Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic Method) เป็นวิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
(http://www.sobkroo.com/ ) ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง (Mental Discipline)
นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญาสามารถพัฒนาได้โดยการฝึก นักคิดกลุ่มนี้มีแนวคิดแยกออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ
กลุ่มนี้เชื่อในพระเจ้า (Theistic Mental Discipline) นักคิด คือ เซนต์ออกุสติน จอห์น คาลวิน และคริสเตียน โวล์ฟ นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อเรื่อง
- มนุษย์เกิดพร้อมกับความชั่ว การกระทำใดๆของมนุษย์เกิดมาจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง
- มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
- สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วนๆซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆได้
- การฝึกสมอง หรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
- การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก
ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ (Humanistic Mental Discipline) นักคิดคนสำคัญ คือ พลาโต และอริสโตเติล นักคิดกลุ่มนี้เชื่อ
- พัฒนาการเป็นเรื่องของมนุษย์ มิใช่พระเจ้าบันดาลมา
- มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดี ไม่เลว และการกระทำของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายใน
- มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง
- มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาแต่เกิด แต่ถ้าขาดการกระตุ้นความรู้จะไม่แสดงออกมา
(http://www.wijai48.com/learning_stye/learningprocess.htm) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส(Socratic Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic Method) เป็นวิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
(www.oknation.net : 26/06/2554) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส(Socratic Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic Method) เป็นวิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
(images.ranunanetc3.multiply.multiplycontent.com : 26/06/2554)
(images.ranunanetc3.multiply.multiplycontent.com : 26/06/2554)
นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่าจิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก เรียนรู้สิ่งที่ยาก ๆ ยิ่งยากมากเท่าไหร่ จิตจะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านี้ แนวคิดนี้มีด้วยกัน 2 กลุ่มคือ
1) กลุ่มที่เชื่อให้พระเจ้า คือ เซนต์ออกุสติน จอห์น คาลวิน และคริสเตรียน โวล์ฟ นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้ ว่ามนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว และการกระทำใด ของมนุษย์เกิดจากแรงกระต้นภายในตัวมนุษย์ (bad-active) มนุษย์พร้อมจะกระทำความชั่วไปหากไม่อบรมสั่งสอนอบรม และเชื่อว่าสมองมนุษย์แบ่งออกเป็นสวน ๆ ถ้าได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะทำให้เกิดความเข้มแข็ง แก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ กับ 2) ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ ได้แก่พลาโต และอริสโตเติล โดยความเชื่อของกลุ่มนี้เชื่อว่าการเรียนรู้ ว่ามนุษย์สามารถพัฒนาการในเรื่องต่างๆ เป็นความสามารถของมนุษย์เองไม่ใช่พระเจ้า มนุษย์เกิดมามีลักษณะที่ไม่ดี ไม่เลว และการกระทำของมนุษย์เกิดจากแรงกระต้นภายใน(neutral-active) มนุษย์มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง มนุษย์มีอิสระที่จะเลือกทำตามความเข้าใจและเหตุผลของตน หากได้รับการฝึกฝนอบรม และมีความรู้มาตั้งแต่เกิด แต่ถ้าขาดการกระต้นความรู้จะไม่แสดงออกมา
(www.wijai48.com : 26/06/2254)
1) กลุ่มที่เชื่อให้พระเจ้า คือ เซนต์ออกุสติน จอห์น คาลวิน และคริสเตรียน โวล์ฟ นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้ ว่ามนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว และการกระทำใด ของมนุษย์เกิดจากแรงกระต้นภายในตัวมนุษย์ (bad-active) มนุษย์พร้อมจะกระทำความชั่วไปหากไม่อบรมสั่งสอนอบรม และเชื่อว่าสมองมนุษย์แบ่งออกเป็นสวน ๆ ถ้าได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะทำให้เกิดความเข้มแข็ง แก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ กับ 2) ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ ได้แก่พลาโต และอริสโตเติล โดยความเชื่อของกลุ่มนี้เชื่อว่าการเรียนรู้ ว่ามนุษย์สามารถพัฒนาการในเรื่องต่างๆ เป็นความสามารถของมนุษย์เองไม่ใช่พระเจ้า มนุษย์เกิดมามีลักษณะที่ไม่ดี ไม่เลว และการกระทำของมนุษย์เกิดจากแรงกระต้นภายใน(neutral-active) มนุษย์มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง มนุษย์มีอิสระที่จะเลือกทำตามความเข้าใจและเหตุผลของตน หากได้รับการฝึกฝนอบรม และมีความรู้มาตั้งแต่เกิด แต่ถ้าขาดการกระต้นความรู้จะไม่แสดงออกมา
(www.wijai48.com : 26/06/2254)
นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส (Socratic Method)และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic Method)เป็นวิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
( images.ranunanetc3.multiply.multiplycontent.com : 28/06/2554) พลาโต (Plato) : การเรียน คือ การทบทวนความรู้เดิมในทัศนะของพลาโต ความรู้ไม่ใช่สิ่งแปลกใหม่ หากเป็นสิ่งที่มีมาก่อนแล้ว (Apriori) ดังนั้น ผู้มีความรู้คือ ผู้ที่จิตของเขาได้สัมผัสกับ “แบบ” ซึ่งเป็นความจริงสูงสุด ส่วนการรับรู้อื่น ๆ เป็นเพียงความเชื่อ หรือความเห็น มิใช่ความรู้ พลาโตเสนอว่า จิตหรือวิญญาณดั้งเดิมของมนุษย์ ซึ่งเป็นอมตะนั้น คุ้นเคยกับ “แบบ” ดีอยู่แล้ว แต่เมื่อจิตมาคลุกคลีกับโลกแห่งวัตถุทำให้หลงลืมไป กระบวนการศึกษาเป็นหนทางที่จะทำให้จิตฟื้นความทรงจำได้ การเรียนจึงเป็นการทบทวนสิ่งที่เคยรู้มาแล้ว ครูเป็นเพียงผู้ “ถาม” เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดค้นหาคำตอบด้วยตัวเอง ครูไม่ได้ป้อนหรือให้ความรู้ใหม่แก่ผู้เรียน พลาโตไม่เห็นด้วยกับนักปรัชญาโซฟิสต์ (อย่าง โปรตากอรัส) ที่เชื่อว่าความรู้คือประสาทสัมผัสและความเห็นส่วนบุคคล เพราะพลาโตเชื่อว่า ประสาทสัมผัสอาจลวงเราได้ และยังเป็นเพียงเงาหรือมายาภาพของแบบเท่านั้น
(ประมวลทฤษฎีการเรียนรู้ที่เป็นสากลและการประยุกต์สู่การสอน)กล่าวไว้ว่า นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา (mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก นักคิดกลุ่มนี้มีแนวคิดแยกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ (Bigge, 1964: 19-30)
กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า (Theistic Mental Discipline) นักคิดสำคัญของกลุ่มนี้คือ เซนต์ออกุสติน (St. Augustine) จอห์น คาลวิน (John Calin) แคริสเตียน โวลฟ์ (Christian Wolff) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อดังนี้
1. มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว และการกระทำใด ๆ ของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (bad – active)
2. มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3. สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ (faculties) ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้
4. การฝึกสมอง หรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
กลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ (Humanistic Mental Discipline)นักคิดคนสำคัญในกลุ่มนี้คือ พลาโต (Plato) และอริสโตเติล (Aristotle) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อดังนี้
1. พัฒนาการในเรื่องต่าง ๆ เป็นความสามารถของมนุษย์ มิใช่พระเจ้าดลบันดาลให้เกิด
2. มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดีไม่เลว และการทำของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายใน (neutral-active)
3. มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง มนุษย์มีอิสระที่จะเลือกทำตามความเข้าใจและเหตุของตน หากได้รับการฝึกฝนอบรมก็จะสามารถพัฒนาศักยภาพที่ติดตัวมา
4. มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาตั้งแต่เกิด แต่ถ้าขาด การกระตุ้นความรู้จะไม่แสดงออกมา
กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า (Theistic Mental Discipline) นักคิดสำคัญของกลุ่มนี้คือ เซนต์ออกุสติน (St. Augustine) จอห์น คาลวิน (John Calin) แคริสเตียน โวลฟ์ (Christian Wolff) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อดังนี้
1. มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว และการกระทำใด ๆ ของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (bad – active)
2. มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3. สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ (faculties) ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้
4. การฝึกสมอง หรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
กลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ (Humanistic Mental Discipline)นักคิดคนสำคัญในกลุ่มนี้คือ พลาโต (Plato) และอริสโตเติล (Aristotle) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อดังนี้
1. พัฒนาการในเรื่องต่าง ๆ เป็นความสามารถของมนุษย์ มิใช่พระเจ้าดลบันดาลให้เกิด
2. มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดีไม่เลว และการทำของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายใน (neutral-active)
3. มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง มนุษย์มีอิสระที่จะเลือกทำตามความเข้าใจและเหตุของตน หากได้รับการฝึกฝนอบรมก็จะสามารถพัฒนาศักยภาพที่ติดตัวมา
4. มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาตั้งแต่เกิด แต่ถ้าขาด การกระตุ้นความรู้จะไม่แสดงออกมา
เทอดชัย บัวผาย (http://www.niteslink.net/web/?name=webboard&file=read&id=7) กล่าวว่า นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส(Socratic Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic Method) เป็นวิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
บริหารการศึกษา กลุ่มดอนทอง52 (http://dontong52.blogspot.com/) นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญาสามารถพัฒนาได้โดยการฝึก นักคิดกลุ่มนี้มีแนวคิดแยกออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ
1. กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า (Theistic Mental Discipline ) นักคิด คือ เซนต์ออกุสติน จอห์น คาลวิน และคริสเตียน โวล์ฟ นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อเรื่อง
1) มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว การกระทำใด ๆ ของมนุษย์เกิดมาจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (Bad-active)
2) มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3) สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
4) การฝึกสมอง หรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5) การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่น วิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติร ภาษากรีก และคัมภีร์ไบเบิล เป็นต้น
2. ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ (Humanistic Mental Discipline) นักคิดคนสำคัญ คือ พลาโต และอริสโตเติล นักคิดกลุ่มนี้เชื่อ
1) พัฒนาการเป็นเรื่องของมนุษย์ มิใช่พระเจ้าบันดาลมา
2) มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดี ไม่เลว และการกระทำของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายใน
3) มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง
4) มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาแต่เกิด แต่ถ้าขาดการกระตุ้นความรู้จะไม่แสดงออกมา
ทิศนา แขมมณี (2550: 45 - 50) กล่าวไว้ว่า
1.มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่วและการกระทำใด ๆ ของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (bad-active)
2.มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3.สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ (faculties) ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
2.มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3.สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ (faculties) ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
สรุป
ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง (Mental Discipline) จิตหรือสมองหรือสติปัญญาสามารถพัฒนาได้โดยการฝึก การฝึกสมอง หรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่น วิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติร ภาษากรีก และคัมภีร์ไบเบิล เป็นต้น จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
เอกสารอ้างอิง
ทิศนา แขมมณี.2550. การสอนจิตวิทยาการเรียนรู้ เรื่องศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการ
เรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Dr.Surin.ทฤษฎีและแนวคิดในการจัดการเรียนรู้.สืบค้นเมื่อวันทึ่17 มิถุนายน 2554. จาก:http://surinx.blogspot.com/.
ณัชชากัญญ์.ทฤษฎีการเรียนรู้.สืบค้นเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2554.จาก: http://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486.
ศน.หลักสูตรและการสอน.ทฤษฎีการเรียนรู้.สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2554.
บริหารการศึกษา กลุ่มดอนทอง52.จิตวิทยาการศึกษา.สืบค้นเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2554.
จาก : http://www.oknation.net/ : เข้าถึงเมื่อ 26/06/2554
จาก : http://images.ranunanetc3.multiply.multiplycontent.com/ : เข้าถึงเมื่อ 26/06/2554
จาก : http://www.www.wijai48.com/ : เข้าถึงเมื่อ 26/06/2554
จาก : http://www.wijai48.com : เข้าถึงเมื่อ 28/06/2554จาก : http://images.ranunanetc3.multiply.multiplycontent.com : เข้าถึงเมื่อ 28/06/2554จาก : http://www.sobkroo.com : เข้าถึงเมื่อ 28/06/2554
จาก : http://www.sobkroo.com/